เว็บไซต์นี้ใช้ cookie เก็บข้อมูลการใช้งานของท่านและพัฒนาประสิทธิภาพการทำงานของเว็บไซต์เพื่อมอบประสบการณ์ การใช้งานที่ดียิ่งขึ้นและนำเสนอสินค้าหรือบริการที่เหมาะสมให้แก่ท่าน หากท่านใช้งานเว็บไซต์นี้ต่อไปถือว่าท่านยอมรับตาม"นโยบายการใช้งาน cookie" (“Cookie Policy”) ของเรา

ทำไมต้องโพรไบโอติก อิมูลัส

ทำไมต้องโพรไบโอติก อิมูลัส

โพรไบโอติก หมายถึง จุลินทรีย์ที่มีชีวิตซึ่งเมื่อร่างกายได้รับ ในปริมาณที่เพียงพอจะทำให้เกิดผลประโยชน์ต่อสุขภาพ (FAO, 2001)

1. ทำไมต้องมีโพรไบโอติก?

ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์มีการเรียนรู้มากขึ้นถึงบทบาทของจุลินทรีย์ในการรักษาไว้ให้คนมีสุขภาพดี และประโยชน์ต่อสุขภาพที่หลากหลายของจุลินทรีย์
โพรไบโอติกเมื่อได้รับสายพันธุ์ที่เหมาะสมและปริมาณที่เพียงพอ

จากงานวิจัยชี้ให้เห็นว่าจุลินทรีย์โพรไบโอติกสามารถ:

  • เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของระบบภูมิคุ้มกัน
  • ปรับปรุงการทำงานของทางเดินอาหาร
  • ช่วยเกี่ยวกับผลข้างเคียงจากการใช้ยาปฏิชีวนะ
  • ช่วยลดความเสี่ยงของโรคติดเชื้อเฉียบพลัน
  • ช่วยลดการแพ้แล็กโทส

2. โพรไบโอติกดีกับระบบทางเดินอาหารอย่างไร ?

  • ปรับสมดุลของระบบทางเดินอาหาร (Balance gut microbiota) (Therapeutic Advances in Gastroenterology) http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3539293/
  • ท้องเสีย (Diarrhea) โพรไบโอติกช่วยในการป้องกันและรักษาภาวะท้องเสียจากการติดเชื้อ หรือจากผลข้างเคียงจากการใช้ยาปฏิชีวนะ (Journal of Pediatric Gastroenterology and Nutrition) http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/9740206
  • ช่วยลดระยะเวลาและความรุนแรงของภาวะท้องเสีย (Journal of Pediatric Gastroenterology and Nutrition) http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/10630440
  • โพรไบโอติกช่วยในการรักษาโรคลำไส้แปรปรวน (Irritable bowel syndrome, (IBD)) (American Journal of Gastroenterology) http://www.ibs-care.org/pdfs/ref_150.pdf
  • โพรไบโอติกช่วยในการป้องกันและลดภาวะท้องผูก(Constipation) (Canadian Journal of gastroenterology) http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/14631461
  • โพรไบโอติกช่วยลดภาวะติดเชื้อ Helicobacter pyroli ในกระเพาะอาหาร Helicobacter pyroli เป็นเชื้อที่ทำให้เกิดกระเพาะอาหารอักเสบเรื้อรัง และอาจเป็นสาเหตุของ มะเร็งกระเพาะอาหาร (The Journal of Nutrition) http://jn.nutrition.org/content/137/3/812S.full.pdf+html

3. โพรไบโอติกดีมีผลต่อระบบภูมิคุ้มกันอย่างไร ?

อื่น ๆ

  • โพรไบโอติกช่วยลดระดับ LDL หรือ โคเลสเตอรอลตัวร้ายในเลือด (International Journal of Molecular Sciences) http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC2904929/
  • โพรไบโอติกช่วยลดภาวะที่ร่างกายไม่สามารถย่อยหรือไม่ทนต่อน้ำตาลแล็กโทส (Lactose Intolerance) ผู้ที่มีภาวะไม่ทนต่อน้ำตาลแล็กโทส จะมีอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ ท้องเดิน ปวดท้อง (The American Journal of Clinical Nutrition) http://ajcn.nutrition.org/content/73/2/421s.full
  • ช่วยลดความเสี่ยงของมะเร็งลำไส้ (Colon cancer) (International Journal of Molecular Sciences) http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC2635701/
  • โพรไบโอติกช่วยลดภาวะแพ้อาหาร (Food allergy) (Allergy) http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/10505453
  • ช่วยในการป้องกันโรคฟันผุ (Dental caries) (Caries Research Journal) http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/11799281
  • ลดความเสี่ยงของโรคอ้วน (Obesity) (Bioscience, Biotechnology, and Biochemistry) http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/20699581

แท็กที่เกี่ยวข้อง :